ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคำว่า “นว” หมายถึง ใหม่
“กรรม” หมายถึง การกระทำ
“นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ใน ภาษาลาติน
แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขึ้นมา
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation)
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation)
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ลักษณะของนวัตกรรม
1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง(Radical
Innovation)
2. นวัตกรรม ที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป
เป็น ขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คิดค้นสิ่งใหม่(invent)โดยการประยุกต์
คุณลักษณะของนวัตกรรม
1. เป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน
อาจเป็นของเก่าที่ใช้ไม่ได้ผลในอดีต แต่นำมาปรับปรุงเสียใหม่
หรือเป็นของปัจจุบันที่เราทำการปรับปรุงให้ดีขึ้น
2. มีการนำเอาวิธีการจัดระบบ (systems
approach) มาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบ ส่วนที่เป็นสิ่งป้อนเข้า
กระบวนการและผลลัพธ์
3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า
นวัตกรรมนั้นจะช่วยแก้ปัญหาหรือช่วยให้งานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน
5. มีการพัฒนาตามขั้นตอน คือ คิดค้น ทดลอง
และนำมาใช้
นวัตกรรมมี 2 ประเภท คือ
1. นวัตกรรมที่เป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดไม่เคยมีใครรู้จักมาก่อน
เพิ่งค้นพบขึ้น
2. นวัตกรรมที่เป็นสิ่งใหม่บางส่วน
อาจเป็นของเก่าที่ใช้ไม่ได้ผลในอดีต แต่นำมาปัดฝุ่นปรับปรุงใหม่
หลักสำคัญในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม
1. เป็นความคิดและการกระทำใหม่ทั้งหมดหรือปรับปรุงดัดแปลงจากที่เคยมีมาก่อนแล้ว
1. เป็นความคิดและการกระทำใหม่ทั้งหมดหรือปรับปรุงดัดแปลงจากที่เคยมีมาก่อนแล้ว
2 . ความคิดหรือการกระทำนั้นมีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยและช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
3. มีการนำวิธีระบบมาใช้อย่างชัดเจน โดยพิจารณาองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วน คือ ข้อมูลที่ใส่เข้าไปกระบวนการ และผลลัพธ์
4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานปัจจุบัน
ขั้นตอนของการเกิดนวัตกรรม
1. ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น (Invention)
2. ขั้นการพัฒนาการ (Development) หรือขั้นการทดลอง (Pilot Project)
3. ขั้นการนำไปหรือปฏิบัติจริง (Innovation)
3. มีการนำวิธีระบบมาใช้อย่างชัดเจน โดยพิจารณาองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วน คือ ข้อมูลที่ใส่เข้าไปกระบวนการ และผลลัพธ์
4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานปัจจุบัน
ขั้นตอนของการเกิดนวัตกรรม
1. ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น (Invention)
2. ขั้นการพัฒนาการ (Development) หรือขั้นการทดลอง (Pilot Project)
3. ขั้นการนำไปหรือปฏิบัติจริง (Innovation)
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา มี 5 ประเภท ได้แก่
1. นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน
2. นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
3. นวัตกรรมด้านหลักสูตร
4. นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual
Different)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
4. ประสิทธิภาพในการเรียน
ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี หมายถึง หลักการ เทคนิค
ตลอดจนกระบวนการที่นำมาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่าง ๆ
เพื่อที่จะทำให้งานนั้นมีคุณภาพดีขึ้น และมีประสิทธิภาพ
เทคโนโลยีทางการศึกษา
มีความหมายที่กว้างกว่า ซึ่งอาจจะพิจารณาจากความคิดรวบยอดของเทคโนโลยีได้เป็น 2ประการ คือ 1. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ
2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์
เป้าหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
1.การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้
2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล
3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา
4. พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา
เทคโนโลยีทางการศึกษากับการจัดการศึกษา
เทคโนโลยีทางการศึกษาส่งผลโดยตรงกับการจัดการศึกษา
ทำให้ระบบการจัดการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการเรียนการสอนมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น
สนองในเรื่องความแตกต่างในระดับบุคลที่สามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลทางการศึกษาได้
ประโยชน์เทคโนโลยีทางการศึกษากับการจัดการศึกษา
1. สามารถทำให้การเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างแต่ละบุคคลได้
3. สามารถทำให้การจักการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
แหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
1. ข้อมูลภายใน
2. ข้อมูลภายนอก
ประเภทของสารสนเทศ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ
3. สารสนเทศตติยภูมิ
แนวทางในการจัดทำระบบสารสนเทศ
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล
2. การตรวจสอบข้อมูล
3. การประมวลผล
4. การจัดเก็บข้อมูล
5. การวิเคราะห์
6. การนำไปใช้
คุณค่าของสารสนเทศ
1.เวลา
2. ความถูกต้อง
3. ความครบถ้วน
4. ความต่อเนื่อง
ความสำคัญของสารสนเทศ
1.ความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคล
2. ความสำคัญของสารสนเทศต่อสังคม
ประโยชน์ของสารสนเทศ
สารสนเทศให้ความรู้ทำให้เกิดความคิด
และใช้ในการประกอบการตัดสินใจทำงานอย่างมีระบบ ลดความซ้ำซ้อน
ตัวอย่างนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
1. หนังสือการ์ตูนประกอบเสียงดนตรี
2. การเรียนรู้โดยอาศัยแหล่งเรียนรู้เป็นฐานRBL
3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4. การเรียนแบบ
มัลติมีเดีย
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
-ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็ว
และช่วยให้บรรยากาศการเรียนสนุกสนาน
-ช่วยให้ผู้เรียนมีความสนใจมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น